ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2022

A Participatory Approach to Minimizing Food Waste in the Food Industry—A Manual for Managers

  Based on their experiences gained in 15 companies in the catering sector and the bakery industry, the authors present a participatory concept to reduce food waste in the food industry. This five-phase concept, adapted to the PDCA (Plan-Do-Check-Act) cycle applied in the Total Quality Management, involves a participatory approach where employees are integrated into the process of developing and implementing measures to counteract food waste. The authors describe how the participatory approach can be used to raise awareness of the topic of food waste to improve employee commitment and responsibility. As a result, the authors further offer a Manual for Managers wishing to reduce food waste in their respective organizations. This manual includes information on the methodologies applied in each step of the improvement cycle. It also describes why the steps are necessary, and how results can be documented. The participatory concept and the Manual for Managers contribute to reducing food wa

Participatory management: an opportunity for human resources in education

 The present paper refines the participatory management (PM) concept in educational organization by adopting a multidimensional approach. The author examined simultaneously fifteen components of Participatory management namely: 1-Trust 2- Decision making 3- Team work 4- Share power 5- Motivation 6- Communication 7- Involvement 8- Collaboration 9- Democracy 10- transparency 11- Innovation 12- Respect 13- Problem solving 14- Identify common goal15- qualitarian.The data were obtained from a sample of 903 Iranian female teachers. The results indicate, there is significant relationship between all of components of participatory management. This study suggests the application of the fifteen components of Participatory management for achieving suitable strategy to plan for logical use of the human resource in educational organization. เอกสารนี้กลั่นกรองแนวคิดการจัดการแบบมีส่วนร่วม (PM) ในองค์กรการศึกษาโดยนำเอาหลายมิติมาใช้เข้าใกล้. ผู้เขียนตรวจสอบองค์ประกอบของการจัดการแบบมีส่วนร่วม 15 อย่างพร

The Result of Developing Secondary School Students' Public Conscience through Process-Knowledge Management in Thailand

  This research uses Mixed-Methodology applied research and development together with participatory action research. The model is appropriate for the context environment. The participants were able to complete the learning activities in participatory forms of knowledge management, using the following five-step model: 1) Knowledge Identification, 2) Knowledge Creation, 3) Knowledge Preservation, 4) Knowledge Sharing, and 5) Knowledge Application. Action research involved 7 main activities down to the operating activities, thus developing public participation in 15 sub-activities. งานวิจัยนี้ใช้การวิจัยและพัฒนาประยุกต์วิธีผสมร่วมกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โมเดลนี้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมบริบท ผู้เข้าร่วมสามารถทำกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบมีส่วนร่วมของการจัดการความรู้ โดยใช้รูปแบบ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การระบุความรู้ 2) การสร้างความรู้ 3) การเก็บรักษาความรู้ 4) การแบ่งปันความรู้ และ 5) การประยุกต์ความรู้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 7 กิจกรรม ไปจนถึงกิจกรรมการดำเนินงา

Bridging the Dichotomous Gaps between Trade Unions and Management of Tertiary Institutions in Nigeria

  The study examined the relationship between activities of trade unions and management of tertiary institutions in a bid to provide empirical solution to the lingering industrial actions by the staff unions in various tertiary institutions in Nigeria. The population comprises all tertiary institutions in Ekiti State, Nigeria. Four hundred and fifty subjects consisted of 390 members of unions that were selected using proportionate sampling techniques and 60 top management staff of the selected institutions was selected purposively. Two self-designed instruments namely, "Trade Unions and management of Tertiary Institutions Questionnaire" (TUMTIQ) and "Management of Tertiary Institutions Questionnaire (MTIQ)" were used to collect relevant data from the subjects. The researchers and another expert in educational management and test and measurement did the face and content validity. In addition, the test-retest method of reliability was adopted with a reliability coeffi

Participatory Management, Professional Development, and Teachers' Job Performance in Public Secondary Schools in Ogun State, Nigeria

  This correlational survey study examined professional development, participatory management, and teachers' job performance in public secondary schools in Ogun State, Nigeria. The sample size comprised 504 participants selected through a multi-stage sampling technique from 12,745 teachers in 217 public secondary schools. The study was guided by two null hypotheses, tested at 0.05 level of significance. Two researcher-designed instruments namely. Participatory Management and Professional Development Questionnaire (PM/PDQ) and Teachers' Job Performance Scale (TJPS), were used to collect data. The Pearson Product-Moment Correlation statistical tool was used for data analysis. Results showed that teachers' job performance was significantly and positively related to both professional development and participatory management respectively. The study concluded that teachers' job performance could be enhanced through these two management intervention strategies. It was therefor

PSC โปรแกรมตรวจสอบข้อมูลบุคลากรสําหรับโรงเรียน

                      -   โปรแกรมตรวจสอบข้อมูลบุคลากร สำหรับ โรงเรียน (PSC)             -   คู่มือการติดตั้ง : โปรแกรมตรวจสอบข้อมูลบุคลากร สำหรับ โรงเรียน (PSC)              -   คู่มือการใช้งาน : โปรแกรมตรวจสอบข้อมูลบุคลากร สำหรับ โรงเรียน (PSC)    

ปัจจัยการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี

  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาระดับการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาและปัจจัยด้านการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี ปีการศึกษา 2559 โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 330 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับปัจจัยการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ จำนวน 71 ข้อ มีค่าความเที่ยงตรงตั้งแต่ 0.60 ถึง 1.00 มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .32 ถึง .78 และมีค่าความเชื่ออมั่นเท่ากับ .99 ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับการจัดการเรียนรู้ จำนวน 32 ข้อ มีค่าความเที่ยงตรงตั้งแต่ .60 ถึง 1.00 มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .42 ถึง .80 และมีค่าความเชื่ออมั่นเท่ากับ .99 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ .99 ส

การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 และเขต 2.

  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหาร สถานศึกษา 2) ศึกษาระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหาiแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา 4) สร้างสมการพยากรณ์การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 และเขต 2 ปี การศึกษา 2562 จำนวนทั้งสิ้น 331 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษามีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย พรเทพ เหมรานนท์. (2564). การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี

ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารและครู กับประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1

  บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารและครูในโรงเรียน  2) ศึกษาประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารและครูกับประสิทธิผล  ในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบวิธีวิจัยแบบปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร และครู ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น ได้จำนวนทั้งสิ้น 195 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารและครูของโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ (   = 4.15, S.D. = 0.70) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (   = 4.14, S.D. = 0.69) การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ (   = 4.13, S.D. = 0.71) และการมีส่วนร่วมในการประเมิน (   = 4.05, S.D. = 0.76) 2) ประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน โดยรวมและรายด้า

การบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของโรงเรียนกีฬาจังหวัด อุบลราชธานี

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม 2) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพของสถานศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษา พบว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ การวางแผน การติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน  การพัฒนาปรับปรุงและการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหา ตามลำดับ และประสิทธิภาพของโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานีโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคลและ การบริหารงานทั่วไป ตามลำดับ และ การทดสอบความสัมพันธ์  พบว่า  การบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรด้านการวางแผน สมพันธ์กับประสิทธิภาพของโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี ด้านการบริหารงานวิชาการ (r =0.79) และ การบริหารแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร ด้านการติดตามและประเมินผล  ส่งผลต่อประสิทธิภาพของโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี ด้านการบริหารงานงบประมาณ (r = 0.76) นอกนั้นไม่มีความสัมพันธ์กัน สรุป

การบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา

  Abstract:  งานวิจัยเรื่องการบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่อำเภอประทาย จังหวัด นครราชสีมา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่ อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามภูมิหลังของครูผู้สอน โดยวิธีการศึกษาเชิงสำรวจจาก กลุ่มตัวอย่าง ในเขตอำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 273 คน ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามที่ มีค่าความเชื่อมั่น .914 เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t - test) การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (0ne - way ANOVA) และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ ด้วยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe’ Method) ผลการวิจัย พบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนในเขตพื้นที่อำเภอประทาย จังหวัด นครราชสีมา โดยภาพรวม และรายด้าน ครูมีการปฏิบัติในระดับมากที่สุด เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงานบุคลคล ด้านการบริหารงานนักเรียน ด้านการบริหาร ทั่วไป และด้านการบริหารงบประมาณ 2) การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ครูที่มีตำแหน่งต่างกัน มีส่วนร่วมในการบริห

QR Code ปวีณา เขตขันหล้า

 QR Code ปวีณา เขตขันหล้า

เว็บไซต์ปวีณา เขตขันหล้า

เว็บไซต์ปวีณา เขตขันหล้า  Google Sites

ออกเสียง สี pronounce colors By Karnjanar

 ออกเสียง สี pronounce colors By Karnjanar

นักศึกษาปริญญาโท การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 8 กลุ่มที่1 มหาวิทยาลัยธนบุรี

 นักศึกษาปริญญาโท การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 8 กลุ่มที่1 มหาวิทยาลัยธนบุรี

ประวัติ ปวีณา เขตขันหล้า

ชื่อ     ปวีณา เขตขันหล้า     วัน เดือน ปี เกิด 27 พฤศจิกายน 2532 ภูมิลำเนา จังหวัดเชียงราย ที่อยู่ปัจจุบัน 67/274 หมู่บ้านเกาะสมุทร ซอย 12 ตำบลท่าทราย              อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ตำแหน่ง      ครู     สอนวิชาภาษาอังกฤษ โทร 0873608712 อีเมล์     paweenar.kh@obec.moe.go.th Google Sites       https://sites.google.com/view/paweenar-khetketkunlar สถานที่ทำงาน     โรงเรียนวัดพันธุวงษ์ 39  หมู่ 1 ตำบลบ้านเกาะ                    อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000